อาจารย์ ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร 1,2
ที่อยู่: ห้องปฏิบัติการชีวฟิสิกส์พืช (A223) ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ต.กำแพงแสน อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม 73140
โทรศัพท์: 0-3428-1105-6 / 0-3428-2494-8 ต่อ 209
Email:
Website: https://www.cab.kps.ku.ac.th/plantbiophysics
1 อาจารย์ สังกัด ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ปี 2565-ปัจจุบัน
2 นักวิจัย ห้องปฏิบัติการชีวฟิสิกส์ของพืช ศูนย์เทคโนโลยีชีวภาพเกษตร มก.กพส. ปี 2546-2564
ผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
1. การเปรียบเทียบชนิดวัสดุคลุมแปลงต่อสภาวะอุณหภูมิและความชื้นในเขตรากพืชของแปลงปลูกสตรอเบอร์รี่
2. ศักยภาพการสังเคราะห์แสงของใบสะละพันธุ์เนินวงและสุมาลี
3. การสอบเทียบหัววัด (sensor calibration) เบื้องต้น ก่อนใช้งานในภาคสนาม
4. เครื่องวัดแรงดึงน้ำของดิน (Tensiometer)
5. รายงานฉบับสมบูรณ์ เรื่อง ข้อมูลพื้นฐานด้านชีวฟิสิกส์และธาตุอาหารพืชสำหรับการผลิตปาล์มน้ำมัน
6. ลักษณะสำคัญทางสรีรวิทยาของสายต้นยูคาลิปตัสที่ได้รับการถ่ายยีนที่ลดการสร้างลิกนินสองลักษณะ A และ B เทียบกับสายต้นธรรมชาติ
รายงานเสนอ ศูนย์พัฒนาผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี บริษัทเอสซีจี เปเปอร์ จำกัด (มหาชน), ตุลาคม 2556, ไม่เผยแพร่
7. ลักษณะสำคัญทางสรีรวิทยาของสายต้นยูคาลิปตัสที่ได้รับการถ่ายยีนที่ลดการสร้างลิกนินสองลักษณะ D และ F เทียบกับสายต้นธรรมชาติ
รายงานเสนอ ศูนย์พัฒนาผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี บริษัทเอสซีจี เปเปอร์ จำกัด (มหาชน), ตุลาคม 2556, ไม่เผยแพร่
8. ลักษณะสำคัญทางสรีรวิทยาของสายต้นยูคาลิปตัสที่ได้รับการถ่ายยีนต้านทานไกลโฟเสท (Glyphosate) และยีนจิบเบอเรลลิน
(Gibberellins) เทียบกับสายต้นธรรมชาติ
รายงานเสนอ ศูนย์พัฒนาผลิตภัณฑ์และเทคโนโลยี บริษัทเอสซีจี เปเปอร์ จำกัด (มหาชน), ตุลาคม 2556, ไม่เผยแพร่
9. Leaf Gas Exchange of Oil Palm (Elaeis guineensis Jacq.) Grown in Ditch and Raised Bed Plots
10. ความสามารถของต้นยูคาลิปตัสในการใช้น้ำที่ให้ในช่วงฤดูแล้ง
11. การตอบสนองของกระบวนการแลกเปลี่ยนแก๊สของใบยูคาลิปตัสต่อสภาพแวดล้อมเพื่อเป็นข้อมูลในการคัดเลือก
และกำหนดพื้นที่ปลูกสำหรับสายพันธุ์มีศักยภาพ
(โครงการพัฒนาวิชาการ เสนอต่อบริษัทสยามฟอเรสทรี จำกัด, มกราคม 2555, ไม่เผยแพร่)
12. การคัดเลือกพืชที่ให้เซลลูโลสสูงสำหรับเป็นวัตถุดิบทางเลือกในการผลิตเอทานอล
13. อัตราแลกเปลี่ยนแก๊สในรอบวันของใบกล้วยไม้สกุลหวาย พันธุ์บอมโจ
14. ศักยภาพการสังเคราะห์แสงของใบกล้วยไม้สกุลหวาย พันธุ์บอม โจ
15. อัตราไหลของน้ำกับการเกิดอาการเนื้อแก้วและยางไหลของผลมังคุด
16. ข้อมูลพื้นฐานทางสรีรวิทยาของสะละของจันทบุรี
17. ข้อมูลพื้นฐานทางสรีรวิทยาของมังคุดของจันทบุรี
18. ทดสอบการให้น้ำช่วงเย็นเพื่อเพิ่มความชื้นสัมพัทธ์ ภายในโรงเรือนที่มีผลต่อผลผลิตของกล้วยไม้สกุลหวาย
19. มวลชีวภาพและปริมาณธาตุอาหารของต้นส้มโชกุนอายุ 2 ปี และผลส้มที่อายุต่างๆ
20. ข้อมูลพื้นฐานทางสรีรวิทยาเพื่อความเข้าใจการเกิดอาการยอดตายของยูคาลิปตัสในเขตภาคตะวันตก